THE DEFINITIVE GUIDE TO วิกฤตคนจน

The Definitive Guide to วิกฤตคนจน

The Definitive Guide to วิกฤตคนจน

Blog Article

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

สมชัย กล่าวโดยระบุว่า อ้างอิงตัวเลขผู้มีบัตรสวัสดิการของรัฐ จากงานวิจัยของทีดีอาร์ไอ และสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ทีดีอาร์ไอ ยังเสนอให้รัฐบาลใหม่เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ปัญหาความยากจนและให้สวัสดิการแบบมุ่งเป้า เช่นตัวย่างในประเทศจีนที่ใช้ฐานข้อมูลคนจนหรือผู้สมควรได้รับสวัสดิการระดับพื้นที่ที่ถูกต้องตามหลักสถิติ ซึ่งแม่นยำกว่าการใช้แนวทางให้คนจนมาแจ้งว่าตัวเองจน นอกจากนี้ รัฐบาลอาจพัฒนาเครื่องมือที่เรียกว่า "แผนที่ความยากจน" ต่อยอดจากที่สำนักงานสถิติแห่งชาติเคยจัดทำมาเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการกระจายงบประมาณได้

ในระยะยาว  การลงทุนในคนรุ่นใหม่อย่างเท่าเทียมกันถือเป็นประเด็นสำคัญ  คนรุ่นต่อไปจะมีจำนวนน้อยลงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและอัตราการเจริญพันธุ์ลดลง  เด็กทุกคนต้องได้รับความใส่ใจอย่างเท่าเทียมและได้รับโอกาสทางสุขภาพและการศึกษาอย่างเสมอภาคเพื่อให้เด็กเหล่านี้สามารถพัฒนาไปถึงศักยภาพพวกเขาไปถึงจุดสูงสุดได้   ประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยให้ครัวเรือนหลุดพ้นจากกับดักความยากจนจากคนรุ่นก่อน ช่วยส่งเสริมกลุ่มประชากรสูงวัย และกระตุ้นโอกาสการเติบโตของประเทศไทย

Analytical cookies are utilized to know how guests connect with the web site. These cookies support supply information on metrics the number of people, bounce charge, site visitors resource, and so forth. Advertisement Advertisement

นโยบายรัฐบาลเพื่อ(คน)ไทย: ทิ้งทวน วิกฤตคนจน 'เศรษฐา' ส่งไม้ต่อให้ 'แพทองธาร'

นอกจากนี้ยังควรใช้วิธีดึงฐานข้อมูลอื่น ๆ เช่น ฐานข้อมูลผู้รับเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด ฐานข้อมูลคนพิการ คนสูงอายุของกระทรวงพัฒนาสังคมเพื่อความมั่นคงของมนุษย์ มาใช้ เพื่อมอบสิทธิให้กับผู้มีรายได้น้อยกลุ่มเปราะบางเหล่านี้ แม้พวกเขาจะไม่ได้มาลงทะเบียนก็ตาม

แต่ยังมีความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพบริการระหว่างพื้นที่ จากการกระจุกตัวของบุคลากรทางการแพทย์ ครุภัณฑ์การแพทย์ พบว่า กรุงเทพฯ เขตปริมณฑล และจังหวัดใหญ่ในภูมิภาคมีความพร้อมมากกว่าในเขตภูมิภาคและจังหวัดที่ห่างไกล

ทำไมตำรวจรัสเซียบุกจับ "ปาร์ตี้เซ็กส์"

แต่การจัดสรรสวัสดิการอย่างเหมาะสมได้ ภาครัฐต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และตรงกับความเป็นจริง ‘รศ.กนกวรรณ มะโนรมย์’ อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มองว่า สิ่งที่ต้องทำอย่างเร่งด่วน และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหาความจนอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การทบทวนฐานข้อมูลภาครัฐเกี่ยวกับคนจน และผู้มีรายได้น้อย เพราะจากการลงพื้นที่ ‘คนจน’ ไม่ได้แบ่งแยกเพียงเส้นแบ่งความจน หรือรายได้ในแต่ละปี แต่ยังมีความสลับซับซ้อนมากกว่านั้น และไม่ควรใช้ข้อมูลการรับสวัสดิการที่ไร้ซึ่งการตรวจสอบความถูกต้อง อย่าง ‘บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ’ หรือ ‘บัตรคนจน’ เพราะหลายกรณีที่เกิดขึ้น คือ “คนจนจริงไม่ได้ คนที่ได้กลับไม่จน” เพราะคนจนจริง ๆ ไม่สามารถเข้าถึงการลงทะเบียนได้ ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำตั้งแต่แรก

อย่างไรก็ตาม การวัดความยากจนด้วยเทคโนโลยีและวิธีการใหม่ๆ เหล่านี้ล้วนมีข้อจำกัดและมีโจทย์ที่ต้องพัฒนาต่อไป เช่น ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของข้อมูล ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลในแต่ละประเทศ หรือความเหลื่อมล้ำของข้อมูลจากการที่ประชาชนบางกลุ่มไม่มีโทรศัพท์มือถือ 

ความเหลื่อมล้ำทาง “รายได้และทรัพย์สิน” โดยรวมของโลก

เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนที่กลายเป็น ที่ซ่องสุมของอาชญากรรมข้ามชาติ เมื่อวานเขียนถึงรายงานในสำนักข่าวชายขอบที่สำนักจะได้รับความสนใจของรัฐบาลไทยว่าด้วยกิจกรรมอาชญากรรมข้ามชาติในบริเวณ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ที่สามเหลี่ยมทองคำ

ความยากจน-เหลื่อมล้ำของคนไทย ท่ามกลางโควิด “รุนแรง” ขนาดไหน?

Report this page